วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553

ประเมินผลงาน 100 คะแนน

ประเมินผลงาน
ขอให้เพิ่อนๆ ครู ญาติและผู้มีเกียรติทั้งหลายร่วมประเมินผลงาน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
ขอขอบคุณทุกท่าน
- เพื่อนประเมินเพื่อน จำนวน 5 คน

วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรม12-16ก.ค.53 สืบค้นข้อมูล (ไม่ต่ำกว่า10เว็บ)

เรื่่อง คลื่น
คลื่นกล mechanical wave

คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก ฯลฯ คลื่นพวกนี้สามารถถ่ายทอดพลังงานและโมเมนตัม โดยอาศัยความยืดหยุ่นของตัวกลางถ้าอุณหภูมิคงตัว อัตราเร็วของคลื่นกลจะมีค่าเท่ากันในตัวกลางชนิดเดียวกัน
คลื่นดิน ground wave
เป็นคลื่นวิทยุที่ส่งจากสถานีส่งกระจายเสียงไปถึงเครื่องรับวิทยุโดยตรงในแนวระดับสายตา
ที่มา
http://www.electron.rmutphysics.com/physics-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=686&Itemid=62

ธรรมชาติของคลื่น (The nature of a wave)
คลื่นและการเคลื่อนที่คล้ายคลื่น (Waves and wave-like motion)
คลื่นมีอยู่ทุก ๆ ที่ ไม่ว่าเราจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ในชีวิตประจำวันเราได้พบเจอคลื่นต่าง ๆ มากมาย เช่น คลื่นเสียง, คลื่นแสง, คลื่นวิทยุ, คลื่นไมโครเวฟ, คลื่นน้ำ เป็นต้น การศึกษาเรื่องคลื่นทำให้เราสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุบางประเภทที่มีลักษณะคล้ายกับคลื่น เช่น การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มนาฬิกา การเคลื่อนที่ของมวลที่แขวนไว้กับสปริง เป็นต้น
ที่มา
http://blake.prohosting.com/pstutor/physics/wave/wave_concept.html

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคลื่นที่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กตั้งฉากกันและเคลื่อนที่ไปยังทิศทางเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 m/s หรือเทียบเท่ากับความเร็วแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic disturbance) โดยการทำให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้
ที่มา
http://th.wikipedia.org/wiki/คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น
ที่มา
http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/spectrum/spectrum.htm

รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีอินฟราเรด
รังสีอินฟาเรด (infrared rays) รังสีอินฟาเรด มีช่วงความถี่ 10ยกกำลัง11 - 10ยกกำลัง14 Hz หรือ ความยาวคลื่น ตั้งแต่ 10ยกกำลัง-3 - 10ยกกำลัง-6 เมตร ซึ่ง มี ช่วงความถี่ คาบเกี่ยว กับ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด สามารถ ใช้กับฟิล์มถ่ายรูป บางชนิด ได้ และ ใช้ เป็น การควบคุม ระยะไกล หรือ รีโมทคอนโทรล กับ เครื่องรับโทรทัศน์ ได้ รังสีอินฟราเรดบางคนเรียกว่ารังสีความร้อน เพราะสสารที่มีความร้อนจะต้องมีรังสันี้ออกมา ทำให้สามารถสร่างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียตนาม
รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มี ความถี่ช่วง 10ยกกำลัง15 - 10ยกกำลัง18 Hz เป็น รังสี ตาม ธรรมชาติ ส่วนใหญ่ มา จาก การแผ่รังสี ของ ดวงอาทิตย์ ซึ่ง ทำ ให้ เกิด ประจุ อิสระ และไอออน ใน บรรยากาศ ชั้น ไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถ ทำ ให้ เชื้อโรค บาง ชนิด ตาย ได้ แต่ มี อันตราย ต่อ ผิวหนัง และ ตา คน
ที่มา
http://board.dserver.org/w/wwwt/00000132.html

การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เมื่อประจุไฟฟ้า บวกและลบเกิดการสั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก จะทำให้เกิดเส้นแรงไฟฟ้าขึ้นระหว่างประจุทั้งสอง
ที่มา
http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/electric/EM_wave/images/emf.htm

คุณสมบัติของเสียง
1. คุณสมบัติของเสียงขับร้องของมนุษย์
ในธรรมชาติเสียงของมนุษย์สามารถปรับระดับเสียงสูง-ต่ำได้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเสียงดนตรี จึงถือว่าเสียงมนุษย์เป็นเสียงดนตรีชนิดหนึ่ง ซึ่งมนุษย์ได้พัฒนาการปรับเสียงสูง-ต่ำ จนกลายเป็นเสียงขับร้องที่ไพเราะได้ โดยเริ่มจากการสวดมนต์ การขอพรจากเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การขับลำนำ การอ่านคำประพันธ์ การขับเสภา ตามลำดับจนเป็นการขับร้องประเภทต่าง ๆ ในที่สุด นอกจากนี้ เสียงของมนุษย์ยังมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งแตกต่างกันไปตามเพศและวัยอีกด้วย เช่น เสียงเด็กและผู้หญิงมักจะเสียงเล็กแหลม เสียงผู้ชายจะมีเสียงทุ้มใหญ่ เป็นต้น
2. คุณสมบัติของเสียงดนตรี
เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีระดับเสียงสูง-ต่ำ เหมือนกับเสียงของมนุษย์ แต่จะเป็นระบบมากกว่า ซึ่งมีพัฒนาการมาจากการขับลำนำ และการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และความเชื่อต่อมามีการพัฒนาเครื่องดนตรีและวิธีการบรรเลงดนตรีได้หลากหลายวิธี ทำให้เสียงดนตรีมีระดับสูง-ต่ำมากขึ้นและมีลักษณะของเสียงเพิ่มขึ้นหลายเสียง
ที่มา
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2714


การเกิดเสียง
เสียง เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีการสั่นสะเทือนส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบ
ที่มา
http://www.thainame.net/project/sound507/Untitled-3.html

เสียงทุ้ม-เสียงแหลม
หูของมนุษย์เรา (รวมถึงสัตว์อื่นๆ) เป็นอวัยวะที่มีความสามารถในตรวจจับคลื่นเสียง โดยส่วนของแก้วหู (Ear Drum) ซึ่งเป็นแผ่นเนื้อเยื่อที่เบาและอ่อนบางมากๆ จะสั่นไหวมาก-น้อยและเร็ว-ช้าตามความผันแปรของความดันอากาศที่เดินทางเข้ามาในช่องหู (Ear Canal)ในกรณีของมนุษย์นั้น หูและระบบประสาทการฟังที่มีสุขภาพและสภาพที่สมบูรณ์จะสามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่จากต่ำสุดที่ 20Hz ขึ้นไปถึงสูงสุดที่ 20,000Hz แต่ก็ไม่ได้หมายถึงว่าความไวในการได้ยินเสียงหรือความรู้สึกได้ในการฟังจะเท่ากันหมดในทุกๆ ย่านความถี่
คำว่าความถี่ (Frequency) นั้นเป็นคุณสมบัติหนึ่งของคลื่น โดยจะหมายถึงจำนวนครั้งของรอบการสั่น (Vibration) ของอนุภาคในตัวกลาง (Medium) ซึ่งก็คือจำนวนครั้งของช่วงคลื่น (ช่วงหนึ่งความยาวคลื่น-Wave Length) ที่เคลื่อนผ่านจุดหนึ่งจุดใดไปในช่วงเวลาหนึ่ง โดยหากวัดจำนวนช่วงคลื่นที่เคลื่อนตัวผ่านไปใน 1 วินาที ก็จะเท่ากับความถี่ของคลื่นในหน่วย Hertz (Hz – เฮิร์ซ) นั่นเอง
ที่มา
http://www.sound-map.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=116107&Ntype=2

สรุปสูตรจากสมบัติโดยทั่วไปของเสียงและคลื่นทั่วไป
สิ่งที่ต้องการหา สูตร
ความเร็วเสียงในอุณหภูมิต่าง ๆ Vt= 331+0.6t
ความเร็วเสียง V = fl
ความเร็วเสียง V = s/t
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง S1P- S2P = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง dsinq = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย S1P- S2P = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย dsinq = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย = (n-1/2)l
ความถี่บีตส์ fB= f1-f2
ความเข้มเสียง(I) I=W/At = P/A = P/4pR2
ที่มา
http://www.yimwhan.com/board/show.php?user=sudteerak1&topic=10&Cate=10

วันพุธที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรม 5-9ก.ค 53 รวม 90 คะแนน สืบค้นเว็บที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กำลังศึกษา

คลื่น
-ชนิดของคลื่น
-ส่วนประกอบของคลื่น
-สมบัติของคลื่น
-ปรากฏการ คลื่น
-การสะท้อน
-การหักเห
-การเลี้ยวเบน
-การแทรกสอด
-คลื่นในเส้นเชือกที่ปลายตรึงไว้
ที่มา
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/wave/wave.htm

http://www.icphysics.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=54

http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/sonic.htm

http://th.wikipedia.org/wiki/คลื่น

http://www.walter-fendt.de/ph14th/interference_th.htm

http://thaigoodview.com/node/28923

http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&category=110&id=5119

http://www.skooolthai.net/id781.htm

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/wave1/wave_1.htm

แสง
-การสะท้อนของแสง
มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน
ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ
ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ
ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง
-การหักเหของแสง
การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทั้ง
สองไม่เท่ากัน
-มุมวิกฤต
มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห
เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก
กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่
มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย
-การแทรกสอดของคลื่นแสง
-ความสว่างของแสง
ที่มา
http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/light.htm

http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/fddi/fddi.html

http://www.bkw.ac.th/content/snet3/dr_sutat/l_earth.htm

http://physicsforth.spaces.live.com/blog/cns!653E82EA9340DFA3!2151.entry

http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/laser.html

http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/lightspeed/lightspeed.html

http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?select=1&q=%A1%D2%C3%E3%AA%E9%BB%C3%D0%E2%C2%AA%B9%EC%C3%D1%A7%CA%D5%E0%CD%A1%AB%EC

คลื่นเสียง
-การสั่นและคลื่นเสียง
-เสียง
-แหล่งกำเนิดเสียง
-คุณลักษณะของเสียง
ที่มา
http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html

http://th.wikipedia.org/wiki/เสียง

http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/oraphin001/index.html

http://www.mwit.ac.th/~ampornke/Documents_PPT/PPT_Waves/08_3The%20Nature%20and%20Properties%20of%20sound1.pdf

http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?category=110&id=5119

http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/sound/html/useful.htm

http://school.obec.go.th/sridonchai/Webstu/ProjectWave/Deteil/page33.htm

http://th.wikipedia.org/wiki/ความเร็วเสียง

http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=809

http://www.aboatmagazine.com/detail.php?id_detail=NL00000012&type=6

วันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ข้อสอบo-net ข้อ53-57


อธิบาย
การสะท้อนของคลื่น Reflection
เมื่อคลื่นเคลี่ยนที่ไปชนกับสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไปยังปลายสุดของตัวกลาง หรือระหว่างรอยต่อของตัวกลาง คลื่นส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่กลับมาในตัวกลางเดิม เรียกว่า การสะท้อนของคลื่น และคลื่นที่สะท้อนกลับมา เรียกว่า คลื่นสะท้อน ส่วนคลื่นที่ไปกระทบปลายสุดของตัวกลางก่อนเกิดการสะท้อนเรียกว่า คลื่นตกกระทบ ตอบ ข้อ 3
ที่มา http://www.skn.ac.th/skl/skn42/phy67/reflect.htm

อธิบาย
-เมื่อเราสบัดเชือกขึ้นลง จะทำให้เกิดคลื่นตามขวางขึ้นในเส้นเชือก โดยคลื่นที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่ไปยังอีกปลายด้านหนึ่งของเชือก
-เมื่อเราสบัดเชือกเร็วขึ้น ความยาวคลื่นในเส้นเชือกก็จะลดลงโดยถือว่าความเร็วของคลื่นในเส้นเชือกด้วยอัตราเร็วคงตัว
-เมื่อเราสบัดเชือกขึ้นลง ให้เกิดคลื่นดล ผ่านรอยต่อของเส้นเชือก 2 เส้นที่มีขนาดไม่เท่ากัน เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบรอยต่อจะเกิด
-การสะท้อนและหักเห จากรูปคลื่นเคลื่อนที่จากความเร็วมากไปหาความเร็วน้อย โดยคลื่นสะท้อนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศา
-เมื่อเราสบัดเชือกให้เกิดคลื่นดล ในเส้นเชือกซึ่งปลายด้านหนึ่งตรึงไว้ คลื่นสะท้อนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศา
-เมื่อเราสบัดเชือกให้เกิดคลื่นดล ในเส้นเชือกปลายอิสระ คลื่นสะท้อนจะมีเฟสคงเดิม
ตอบ ข้อ 4
ที่มา http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/wave/basic/basic1/tran.html

อธิบาย
การหักเหของเสียงเนื่องจากอัตราเร็วในอากาศขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่อบริเวณ 2 แห่ง มีอุณหภูมิของอากาศแตกต่างกัน เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งจะเกิดการหักเหทำให้คลื่นเสียงเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น การที่เราเห็นฟ้าแลบ บางครั้งไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เพราะเสียงได้หักเหไปทางอื่น จึงมาไม่ถึงหูผู้ฟัง การหักเหของเสียง เมื่อเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน หรือตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน จะมีเงื่อนไขเหมือนกับคลื่นน้ำ ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ทำให้คลื่นมีทิศทางเบนออกจากเส้นปกติ และถ้าเสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้คลื่นเบนออกจากเส้นปกติ
ตอบ ข้อ 1
ที่มา http://thaigoodview.com/node/18316


อธิบาย
สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1.ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่
2.อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ 299,792,458 m/s ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง
3.เป็นคลื่นตามขวาง
4.ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
5.ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร
6.ไม่มีประจุไฟฟ้า
7.คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห และเลี้ยวเบนได้
ตอบ ข้อ 1
ที่มาhttp://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/spectrum/spectrum.htm

อธิบาย
การขึ้นลงของน้ำ เกิดจากแรงดึงดูดของโลกกับดวงจันทร์ต่างหาก แรงที่โลกดึงดูดดวงจันทร์จะเท่ากับแรงที่ดวงจันทร์ดึงดูดโลก อันนี้ก็คือกฎข้อที่สามของนิวตันนั่นเอง แรงดึงดูดนี้ทำให้ดวงจันทร์หมุนอยู่รอบโลก หรือจะพูดว่าโลกหมุนอยู่รอบดวงจันทร์ก็ได้เช่นเดียวกัน การหมุนรอบซึ่งกันและกันนี้ ทำให้มีจุดหมุนร่วมกันจุดหนึ่ง ซึ่งอยู่ระหว่างมวลทั้งสอง จุดนี้ก็คือจุดศูนย์กลางมวลของโลกและดวงจันทร์ เพราะว่ามวลของโลกใหญ่กว่าดวงจันทร์มากดังนั้นจุดศูนย์กลางนี้จะอยู่ใกล้กับโลกมากกว่า หรืออยู่ภายในโลกนั่นเองดังรูป
ตอบ ข้อ 3
ที่มาhttp://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/physics1/tides/tides.htm

HAMSTER

Powered By Blogger